• December 23, 2021
    Mitochondria.jpg

    ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria) คือ ออร์แกเนลล์ (Organelle) ชนิดหนึ่งภายในเซลล์(Cell) พบได้ในเซลล์(Cell)ของสิ่งมีชีวิตประเภทยูแคริโอตแทบทุกชนิด

    ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)มีเยื่อหุ้มสองชั้นเป็นฟอสโฟลิปิดไบเลเยอร์(Phospholipid Bilayer)
    ถ้ามี 1 อันเรียกว่า ไมโทคอนเดรียน(Mitochondrion, รูปเอกพจน์)
    ถ้ามีมากกว่า 1 อันเรียกว่า ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria, รูปพหูพจน์)

    จำนวนของไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)ในเซลล์(Cell) แต่ละชนิดจะมีจำนวนไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับชนิดและกิจกรรมของเซลล์(Cell) เซลล์ (Cell)ที่มีเมแทบอลิซึมสูงจะมีไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)มาก เช่น เซลล์ตับ(ซึ่งมีจำนวนประมาณ 1000-2000 อันต่อเซลล์ กินเนื้อที่หนึ่งในห้าของเซลล์) เซลล์ไต เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและเซลล์ต่อมต่างๆ

    ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria) มีหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานของเซลล์(Cell)
    รูปร่างและโครงสร้างของไมโทคอนเดรีย(Mitochondria) มีรูปร่างหลายแบบขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์(Cell) รูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่ ในเซลล์ของต่อมหมวกไตเป็นทรงกลม ในเซลล์ตับเป็นแท่งสั้นๆ ในเซลล์บุผิวของลำไส้เล็กรูปร่างค่อนข้างยาว

            โดยทั่วไปไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) มีรูปร่างกลมท่อนสั้น คล้ายไส้กรอก ยาว 5-7 ไมครอน มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.2-1 ไมครอน เยื่อหุ้มชั้นนอกเรียบ ประกอบไปด้วยโปรตีน 60-65% ลิพิด 35-40% มีช่องว่างภายในเยื่อหุ้มซึ่งเป็นส่วนที่แคบระหว่างเยื่อหุ้มชั้นในกับชั้น นอกเรียกว่า Intermembrane Space และมีเยื่อชั้นในพับเข้าไปเป็นรอยหยักเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวเรียกว่า คริสตี้ (Cristae) หนา 60-80 อังสตรอม ภายในบรรจุของเหลวประกอบไปด้วยสารหลายชนิดเรียกว่า แมทริกซ์(Matrix)ซึ่ง จะพบเอนไซม์(Enzyme)ที่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรเครบส์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวน การหายใจระดับเซลล์(จะเกิดขึ้นในบริเวณนี้เพราะมีเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องใน การสร้าง ATP)การสังเคราะห์โปรตีน และการจำลองตัวของไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)

     ภายในไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)สามารถพบ ดีเอ็นเอ(DNA) ได้เช่นเดียวกับในนิวเคลียส(Nucleus)และคลอโรพลาสต์(Chloroplast) โดยเรียกว่า mtDNAดีเอ็นเอ(DNA)ในไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)เป็นดีเอ็นเอ(DNA)ที่มาจากแม่โดยตรง ส่วนดีเอ็นเอ(DNA)ที่อยู่ในนิวเคลียส(Nucleus)นั้น จะเป็นที่ดีเอ็นเอ(DNA)ที่รวมกันจากพ่อและแม่

    ไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)สามารถพบได้ที่ระหว่างเส้นใยฝอยกล้ามเนื้อโดยเบียดแน่นกันอยู่ หรือห่อหุ้มแฟลเจลลัม (ส่วนหาง) ของสเปิร์มและไมโทคอนเดรีย(Mitochondria)ไม่มีในเซลล์(Cell)บางชนิด เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

    ไมโทคอนเดรีย (Mitochondrion) คือ แหล่งสร้างพลังงานของเซลล์

    รูปร่างลักษณะ ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลม ท่อนสั้น ท่อนยาว หรือกลมรีคล้ายรูปไข่
    มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.2 – 1 ไมครอน ยาว 5 – 7 ไมครอน ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมัน

    ไมโตคอนเดรียคือออร์แกเนลล์ที่อยู่ในไซโตพลาสซึมที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ชั้นนอกผิวเรียบ ส่วนชั้นในพับเข้าไปด้านใน เรียกว่า คริสตี (cristae) ภายในไมโตคอนเดรียมีของเหลวซึ่งประกอบด้วยสารหลายชนิด เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix)ในมนุษย์มีไมโทคอนเดรียมากที่สุดที่กล้ามเนื้อหัวใจ จำนวนของไมโตคอนเดรียในเซลล์แต่ละชนิดจะมีจำนวนไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับชนิดและกิจกรรมของเซลล์ เซลล์ที่มีเมแทบอลิซึมสูงจะมีไมโตคอนเดรียมาก เช่น เซลล์ตับ ไต กล้ามเนื้อหัวใจและเซลล์ต่อมต่าง ๆ

    หน้าที่ของ mitochondria

    1. ทำหน้าที่เสมือนโรงงานแปรรูปอาหารหรือเรียกว่ากระบวนการเผาผลาญอาหารเพื่อให้ได้รหัสพันธุกรรม (DNA) ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอและสร้างเซลล์ใหม่แทนเซลล์ที่ตายไป
    2. เป็นแหล่งกำเนิดพลังงาน ATP ทำให้คนเรา

    • สร้างสารให้พลังงานสูง คือ ATP (Adenosine triphosphate) คือ โมเลกุลสารพลังงานสูงที่ให้พลังงานแก่ร่างกายเรา
        โดยแยกเป็น 2 ส่วน คือ

             – เยื่อหุ้มด้านนอก ทำหน้าที่เกี่ยวข้อง กับการสร้างสารประกอบ ฟอสโฟลิปิด
             – เยื่อหุ้มด้านใน มีเอนไซม์เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ ATP

    3.  เป็นแหล่งผลิตเอนไซม์นับพันๆ ชนิด เพื่อใช้ในกระบวนการเผาผลาญอาหารของเซลล์ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย

    •  ภายในเมทริกซ์มีของเหลว ที่ทำหน้าที่เป็นเอนไซม์ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในวัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle)
      มี DNA (Deoxyribonucleic acid) RNA (Ribonucleic acid) เอนไซม์ และไรโบโซม
      อยู่ภายในออร์แกเนลล์ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนขึ้น ภายในออร์แกเนลล์

    เชลล์หัวใจเป็นอวัยวะที่มีไมโตคอนเดรียมากที่สุด ดังนั้นในร่างกายของคนเราจึงมีไมโตคอนเดรียนับ ล้าน ล้าน ล้าน ล้าน ไมโตคอนเดรีย ไมโตคอนเดรียมีขนาดเล็กมาก ราว 1 ไมคอน 
    อาหารที่สามารถเข้าสู่ไมโตคอนเดรียได้ต้องเล็กกว่า 1 ไมคอน เพราะต้องผ่านเยื่อบุผนังชั้นต่าง ๆ ซึ่งไมโตคอนเดรียเปรียบเสมือนโรงงานแปรรูปอาหารที่อยู่ในเซลล์ในร่างกายของคนเรา มีหน้าที่ผลิตเอนไซม์นับพัน ๆ ชนิด เอนไซม์เหล่านี้จะไปย่อยอาหารที่เรารับประทานเข้าไป เพื่อให้ได้พลังงาน

    สังเคราะห์อาหารให้ได้รหัสพันธุกรรมใหม่ เพื่อซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอและสร้างเซลล์ใหม่แทนเซลล์ที่ตายไป ซึ่งเซลล์ของคนเราจะตายและเกิดใหม่ทุกๆ7 วัน เมื่อเซลล์ใดตายไปและเซลล์ใหม่เกิดขึ้นไม่เท่าเทียมกันอวัยวะนั้น ๆ ก็จะค่อย ๆ เสื่อม หรือฝ่อไป แต่ถ้าหากเซลล์ใดมีการสร้างเซลล์ใหม่แต่มีรหัสพันธุกรรมเพี้ยนไปจากเซลล์เดิมก็จะเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง หรือภูมิต้านทานบกพร่อง เช่นกลุ่มเอสแอลอี ปัจจุบันนี้จะเห็นได้ว่าทุกคนก็ทานอาหารหลัก 5 หมู่แต่ก็ยังป่วยอยู่ สาเหตุมาจากไมโตคอนเดรียเสื่อม จึงไม่สามารถสร้างเอนไซม์ ต่าง ๆ มากมายเป็นพัน ๆ ชนิดภายในเซลล์ของเรา มาย่อยอาหารหลัก 5 หมู่ที่เรารับประทานเข้าไป เพื่อไปสังเคราะห์อาหารให้ได้รหัสพันธุกรรมใหม่ ซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอ และสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์เก่าที่ตายไป 

    การที่ไมโตคอนเดรียในเซลล์ของคนเราเมื่อขาดอาหารบ่อย ๆ ก็จะทำให้เชลล์ต่าง ๆ ขาดสารอาหาร และเซลล์จะเสื่อม ถึงแม้ว่าคนเราจะรับประทานอาหารหลัก 5 หมู่ แต่คนเราก็ยังป่วยอยู่ เราต้องกิน resveratrol ซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอ และสร้างเซลล์ใหม่ 



เวอไนน์ไอคอร์ส

ประหยัดเวลากว่า 100 เท่า!






เวอไนน์เว็บไซต์⚡️
สร้างเว็บไซต์ ดูแลเว็บไซต์

Categories