https://support.google.com/a/answer/3035792?hl=th
G Suite (หรือ ชื่อเก่า Google Apps for Work ,Google Apps for Business)
เป็น บริการแอพพลิเคชั่นของ Google ประกอบไปด้วย อีเมล์,ปฎิทิน,ฮาร์ดไดรฟ์ออนไลน์,ระบบจัดการเอกสาร,ระบบแชท ฯลฯ
(แตกต่างจาก Google สำหรับบุคคลทั่วไป ที่ใช้งานบน user โดเมน gmail.com)
1.ผู้ใช้บริการ G Suite จะสามารถใช้งาน Google Apps ภายใต้โดเมน ที่เป็นของตัวเอง ในชื่อ อีเมล์บริษัท (Gmail บริษัท) หรือ อีเมล์องค์กร (Gmail องค์กร)
2.ขนาดพื้นที่จัดเก็บ
3.ฟังก์ชั่นการทำงานที่รองรับรูปแบบการใช้งานเชิงธุรกิจ
G Suite มุ่งเน้นให้บริการด้าน ระบบอีเมล์และระบบ Hosting ใช้เทคโนโลยี Could Computing
ใช้ application อย่าง Google mail , Google Calendar , Google Talk , Google Docs และ Google Sites ผ่านชื่อโดเมนของคุณเอง โดยผ่านทาง Web Base เพียงแค่มีการเชื่อมต่อผ่านอินเทอร์เน็ตก็สามารถใช้งาน G Suiteได้เต็มรูปแบบ
คู่มือการใช้งาน G Suite
- คู่มือการใช้งาน Google Mail
- คู่มือการใช้งาน Google Calendar
- คู่มือการใช้งาน Google Site
- คู่มือการใช้งาน Google Drive
G Suite ตอบโจทย์การทำธุรกิจได้อย่างไร
1. ราคา ตามแพ็คเกจ เลือกให้เหมาะกับการใช้งาน
2. ความคุ้นเคยกับเครื่องมือ
ใช้เหมือน Gmail รวมถึงเครื่องมืออื่นๆใน G Suite เช่น Calendar, Google Docs, Google Sheet,Google Slides ฯลฯ
ใช้งานง่าย หมดปัญหาเรื่องการต้องสอนการใช้งานให้พนักงาน
3. ความเรียบง่าย
ลงชื่อเข้าใช้บัญชี google เพียงครั้งเดียว ก็สามารถใช้ได้ทุกเครื่องมือใน G Suite
ผู้ใช้งานในทีมแชร์ข้อมูลและเอกสารร่วมกันได้
สามารถทำงาน หรือแก้ไฟล์เอกสารร่วมกับทีม
หรือแม้กระทั่งกับลูกค้าของคุณได้แบบเรียลไทม์
4. สะดวกสบาย
การใช้ระบบคลาวด์ ไม่ว่าอยู่ที่ไหน เมื่อไหร่ หรือบนอุปกรณ์ใด พนักงานก็สามารถเข้าถึงข้อมูลและเอกสารของเขาได้ในทุกที่ ทุกเวลา แม้ว่าจะอยู่ในพื้นที่ที่ไม่มีสัญญาณอินเทอร์เน็ต คุณยังคงสามารถเข้าดูไฟล์เอกสารแบบออฟไลน์ได้ เพราะผู้ใช้ที่เป็นแอดมินสามารถทำการตั้งค่าการเข้าถึงข้อมูลขณะออฟไลน์ตามข้อปฏิบัติการใช้งานบนอุปกรณ์ได้ (มีการดหลดเก็บไว้ในเครื่องนั่นเอง ซึ่งตั้งค่าได้)
การทำงานร่วมกันบนระบบคลาวด์แบบเรียลไทม์ จึงไม่จำเป็นต้องใช้แฟลชไดรฟ์ในการโอนถ่ายข้อมูลไปมาระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
5. ระบบที่เข้ากันได้กับ Microsoft Office
ผู้ใช้สามารถแก้ไขไฟล์บน Office ได้โดยไม่ต้องลงซอฟต์แวร์ เมื่อแก้ไขงานเรียบร้อยแล้ว คุณสามารถเลือกเซฟไฟล์เป็นฟอร์แมตของ Office ได้อีกด้วย (เลือก File > Downlode as จากเมนู)
กูเกิ้ลยังปล่อยตัวเสริมที่จะให้คุณสามารถแก้ไขไฟล์ Office ได้ โดยไม่ต้องแปลงไฟล์เป็นฟอร์แมตของกูเกิ้ล
6. เรื่องความปลอดภัย
สมมติว่าบริษัทของคุณมีโทรศัพท์ระบบแอนดรอยด์ให้พนักงานใช้ในการติดต่อธุรกิจ G Suite ให้ความปลอดภัย และมีเครื่องมือในการรีเซ็ทอุปกรณ์ และบล็อคการใช้งานได้ในกรณีที่อุปกรณ์นั้นถูกขโมยหรือสูญหาย
G Suite (Google Apps) คือ แอปพลิเคชันที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย Google เพื่อให้บริการทางด้านการบริหารจัดการภายในองค์กร ซึ่งได้มีการรวมแอปพลิเคชัน ต่างๆ ที่ถือว่ามีความจำเป็นต่อองค์กรในปัจจุบันอันได้แก่ Google Apps for Work,Google Calendar,Google Docs,Google Talk,Google Site
G Suite ทำอะไรได้บ้าง
1.มีพื้นที่ในการจัดเก็บอีเมล์ค่อนข้างใหญ่ ทำให้เราไม่จำเป็นต้องเข้ามาลบอีเมล์บ่อยๆสามารถเก็บอีเมล์ได้หลายๆเดือน โดยที่อีเมล์ไม่มีการสูญหาย
2.บริการปฏิทินแบบออนไลน์ของ Google (Google Calendar) สามารถเก็บ ข้อมูลเหตุการณ์ต่างๆ รวมไว้ในที่เดียวกันได้
3.โปรแกรมการจัดการเอกสารออนไลน์ (Google Drive หรือ Google Docs)หลักการทำงานจะคล้ายกับโปรแกรมเอกสาร ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเอกสารแบบออนไลน์ได้โดยผ่านการใช้เว็บเบราว์เซอร์ต่างๆ
4.การสร้างหน้าเว็บไซด์ (Google Sites)ซึ่งสามารถกำหนดได้ ว่าต้องการให้เว็บไซด์ของตัวเองออนไลน์ได้ทั่วโลกหรือ ให้ออนไลน์แค่ภายในองค์กรเดียวกัน
5.แอปพลิเคชันบนเว็บไซด์ที่มีคุณลักษณะการทำงานคล้ายๆ กับโปรแกรม MSN (Google Hangouts) และยังสามารถสื่อสารด้วยเสียงผ่าน Internet
6.G Suite สามารถส่ง sms ไปยังหมายเลขที่ต้องการได้ ฟรี!! วันละ 50 ข้อความ
7.G Suite สามารถใช้งานแบบ Google Offline เช็คอีเมล์และตอบกลับอีเมล์ โดยที่ยังไม่สามารถ Connect internet ได้
8.อบรมการใช้งาน G Suit ซึ่งรวมถึง Features ต่าง ๆ ที่ใช้ร่วมกันของทั้ง G Suite แบบ Standard และ Education Edition ด้วย คอร์สต่าง ๆ ที่ใช้ในการอบรม
G Suite
1.เทคโนโลยี Could Computing ทำให้ข้อมูลของผู้ใช้สามารถเก็บได้นาน ไม่ต้องกลัวข้อมูลสูญหาย และไม่ต้องเสียเวลา Update Version ของตัวโปรแกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเอง เพราะหน้าที่ทั้งหมดนี้จะทำโดย Google
2.ลดการใช้พนักงาน IT เพราะระบบมีปัญหาการใช้งานน้อยมาก
3.ปลอดภัยสูง เพราะข้อมูลถูกจัดเก็บที่Server ของ Google ซึ่งมีการป้องกันแน่นหนา และรอบคอบกว่าการออกแบบระบบด้วยตนเอง
4.ระบบป้องกันสแปม ก่อนที่จะเข้ากล่องจดหมาย
5.ระบบการทำงานแบบ Online Application เพื่อให้ทุกระบบปฏิบัติการ (OS) ไม่ว่าจะเป็น Windows, Mac หรือ มือถือ สามารถเข้าใช้งานได้ง่าย และสามารถเชื่อมต่อได้ตลอดเวลา
6.เอกสารที่มีการใช้งานต่างๆ จะถูกจัดเก็บแบบแยก Version (Revision) เพื่อง่ายในการดูย้อนหลัง เพื่อตรวจสอบข้อผิดพลาดต่างๆ และไม่ได้มีหลาย Version ให้งง,สับสนได้
7.มีพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลอีเมล์ขนาดใหญ่ ไม่ต้องทำการสำรองข้อมูลให้เสียเวลา
8.มีการ Downtime ของ Server น้อยมาก 99.9% Uptime, หมดความกังวลเรื่องการเชื่อมต่อ ระหว่าง Server-Client
การใช้ชื่อโดเมนเป็นชื่อเดียวกับบริษัทของคุณในการทำธุรกิจ (อย่างเช่น xxx@yourcompany.com) ทำให้บริษัทของคุณมีความเป็นมืออาชีพมากขึ้น และเป็นเครื่องยืนยันว่าคุณกำลังทำธุรกิจอย่างจริงจัง แต่ยังมีหลายธุรกิจที่ยังใช้ชื่อโดเมนเป็น @gmail.com ซึ่งอาจกลัวระบบใหม่ที่ไม่คุ้นเคย ,ค่าใช้จ่ายบริษัทที่เพิ่มขึ้น ฯลฯ
1. หน้าตาการใช้งานของเว็บอีเมล์ G Suite เหมือกับ Gmail ที่คุณใช้เลย
2. สร้างแบรนด์ให้ธุรกิจของคุณ ใช้อีเมลในการติดต่อธุรกิจที่เป็นชื่อโดเมนของคุณเอง หน้าเว็บอีเมลใส่โลโก้บริษัท แทนโลโก้ของกูเกิ้ลได้
3. หน่วยความจำบนระบบคลาวด์ แต่ละ user จะได้รับพื้นที่อีเมล เอกสารต่างๆ 30GB จากเดิม 15GB (gmailทั่วไป)
4. ทำงานร่วมกันแบบเรียลไทม์ G Suite ออกแบบมาให้คุณและเพื่อนร่วมกันสามารถทำงานร่วมกันไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เมื่อไหร่ เวลาใด ,แชร์เอกสารต่างๆ ด้วยบริการอื่นๆ ที่มีอยู่ใน G Suite ( Google Drive, Google Docs, Google Sheets, หรือ Google Slides เป็นต้น )
5. เชื่อมต่อได้ทุกอุปกรณ์ สามารถใช้ IMAP เพื่อช่วยให้ข้อมูลในกล่องข้อความของคุณเชื่อมต่อได้กับทุกอุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เคลื่อนที่ต่างๆ แอปพลิเคชันอย่าง Apple Mail หรือ Microsoft Outlook สามารถรองรับการตั้งค่า IMAP ของกูเกิ้ลได้อีกด้วย ซึ่งการใช้ IMAP ข้อมูลของคุณถูกเก็บรวมอยู่ในระบบคลาวด์ เป็นระบบศูนย์กลาง เมื่อคุณละออกจากหน้าจอคอมพิวเตอร์ มาใช้โทรศัพท์มือถือ กล่องข้อความของคุณก็จะถูกซิงค์ ข้อมูลต่างๆ ยังคงเดิม ไม่เปลี่ยนแปลง
6. การตั้งค่าที่น่าเชื่อถือ หากโฮสต์ของเว็บคุณออฟไลน์ หรือเปลี่ยนโฮสต์ คุณยังสามารถใช้งานอีเมลต่อได้ปกติ
7. เติบโตไปพร้อมกับธุรกิจคุณ G Suite เพิ่ม,ลบ user ตามการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจคุณได้อย่างอิสระ
ขีดจำกัดการส่งอีเมล
G Suite คือระบบอีเมลที่มีระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลค่อนข้างมาก Google จะให้ความสำคัญกับการป้องกันข้อมูลเป็นอย่างมากจึงมีการจำกัดจำนวนอีเมล์ที่ส่งได้ต่อวัน ซึ่งจะเป็นการจำกัดรวมทั้งจำนวนอีเมล์ที่ส่ง และจำนวนผู้รับต่ออีเมล์ด้วย ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพการทำงานของ Google mail และความปลอดภัยของอีเมล์ เมื่อมีการส่งอีเมล์เกินขีดจำกัดดังกล่าวนั้น ผู้ใช้ จะยังสามารถลงชื่อเข้าใช้บัญชีและรับอีเมล์ได้ แต่ไม่สามารถส่งอีเมล์ออกได้ชั่วคราว
ในการจำกัดการส่งอีเมลมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาประสิทธิภาพการทำงานของ Google และช่วยรักษาความปลอดภัยให้กับบัญชีของผู้ใช้ ซึ่งในการจำกัดจำนวนจะมีผลที่การส่งข้อความต่อวันและจำนวนผู้รับต่อวัน
หลังจากอีเมลถึงจำกัดการส่งแล้ว ผู้ใช้จะไม่สามารถส่งอีเมลใหม่ได้ภายในเวลา 24 ชั่วโมง แต่ยังสามารถเข้าถึงบัญชี รับอีเมลและเข้าถึงบริการต่างๆของ Google ได้เหมือนเดิม ซึ่งหลังจากพ้นช่วงระยะเวลาระงับแล้ว ระบบจะรีเซ็ตเกณฑ์จำนวนการส่งแบบอัตโนมัติทำให้ผู้ใช้สามารถส่งอีเมลได้ตากปกติ
ยืนยันโดยใส่ code ใน meta ของ index หน้าแรก root ใน <head>
จากนนั้นไป ตั้งค่า MX ใน cloudfare โดยลบ แถว MX และ ใส่ค่าตามที่ g suite แจ้ง
แล้วเข้าระบบใช้งานโดย เข้า gmail ปกติ ซึ่งต่อไปนี้ จะส่งโดย เมลที่เราต้องการ (ชื่อเมล@ชื่อโดนเมนเรา)
และเมื่อมีคนส่งถึงเราก็จะเข้าเมลนี้แทน โดยตัดระบบของ webmail เดิม (bypass ไป g suite)หากต้องการยกเลิก ให้ไปลบ MX ใน cloudfare ใส่ค่าเดิมไป
ช่วงแรกๆ ถ้าส่งด้วย gmail ใดๆก็ตาม เข้า (ชื่อเมล@ชื่อโดนเมนเรา) มันจะยังเข้า “g suite ที่เป็น (ชื่อเมล@ชื่อโดนเมนเรา)”
อาจจะอยู่ในช่วงการปรับระบบ เช่น 10 นาที แต่ตัว g suite เอง ที่เป็น (ชื่อเมล@ชื่อโดนเมนเรา) ยังคงใช้ในการส่งเมลออกได้อยู่ แต่รับไม่ได้ เพราะ จะไปที่ (ชื่อเมล@ชื่อโดนเมนเรา) ที่แม้จริงแทน (ได้เปลียน MX ใน cloudfare กลับไปค่าเดิมของ web mail แล้ว) จากนี้ ตัว g suite เองก็จะเป็นเหมือน เมลปลอม header นั่นเอง แต่โดยถูกต้องเพราะเป็นของ gmail เอง ส่งออกได้ปกติ ไม่เข้า เมลขยะ หรือ spam เพราะ และใช้ได้จนกว่าจะลบบัญชีการใช้ g suite ปกติจะมี บอกว่า ส่งจากเมลที่แท้จริงอะไร เช่น cymiz-com.20150623.gappssmtp.com แต่ถ้าใช้เมลอื่นๆที่ไม่ใช่ gmail ก็จะใช้งานได้ปกติ
https://www.youtube.com/watch?v=5HmttbYH3SQ
—————————————
ระบบ mail server ที่มาพร้อมกับ web hosting มีคุณภาพแตกต่างกันขึ้นอยุ่กับผู้ให้บริการแต่ละเจ้า การดูแล การบริการ และ ความเชี่ยวชาญในการด้าน เทคนิคอล ต่างๆ โดยการเลือกใช้บริการ ที่อาจใช้เปรียบเทียบกันได้ ดูจาก ราคา และ option ต่างๆที่มีให้ เนื้อที่ แบนวิธ ความมีชื่อเสียง ขนาดองค์กร ความเร็ว ความเสถียร ระบบความปลอดภัย up time (บางแห่งการันตี 99%) ฯลฯ
แม้จะเปลียนมาใช้ หรือ mail hosting ก็จะยังเทียบ G suite ไม่ได้ เพราะมันไม่ได้ถูกออกแบบให้มี up time สูงๆ ทุกอย่างทำงานภายใต้เซิร์ฟเวอร์ตัวเดียว เมื่อเซิร์ฟเวอร์นั้นขัดข้องก็ต้องพยายามแก้ไขให้ได้ ซึ่งต้องใช้เวลาเป็นชั่วโมง หรือเป็นวันๆ แล้วแต่ความสามารถของผู้ให้บริการ
อยู่ที่การเลือกใช้งาน ระบบเมลที่มากับ control panel hosting มันไม่ perfect ครับ antivirus spam ก็ตัว opensource ความสามารถในการป้องกันน้อยมากถึงมากที่สุด ถ้าเทียบกับระบบอีเมลโดยเฉพาะที่มี antivirus ดีๆ แบบเสียเงินมาป้องกัน ไม่อย่างนั้น antivirus คงไม่ขายกันแพงๆ หรือไม่ต้องมี firewall gateway ดีๆ ใช้ตัวฟรีก็ป้องกันได้ จบปัญหา สบายใจ
http://www.thaiseoboard.com/index.php/topic,390024.msg5267074.htmlระบบที่ Google App หรือ Windows Live ที่ว่าเสถียรนั้นจะทำงานในระบบ Cloud Computing ที่เรียกว่า Infrastructure as a Service หมายความว่า ทั้งระบบถูกออกแบบให้ลูกค้าเลือกใช้ทรัพยากรเองได้แบบ Self Service on-demand จ่ายตามที่ใช้ และมี up time สูงมาก ระดับ 99.9%-99.99% หมายถึงในเดือนหนึ่งๆ ระบบจะขัดข้องได้ไม่ถึงชั่วโมง และ ถ้ามีเหตุขัดข้องเกินจากนั้นก็มักมีการชดเชยให้เป็นรูปของตัวเงินบ้างหรือยืดระยะเวลาที่ใช้ได้ออกไป
ดังนั้นต่อไปเมื่อ account เพิ่มมากขึ้น ควรไป host กับบริการ Cloud ถ้าจะให้ดีก็เลือกที่อยู่ภายในประเทศจะได้ไม่มีปํญหาเรื่อง bandwidth ต่างประเทศที่ทำให้ช้าและแพงด้วย ดูรีวิวคลาวด์ได้ที่
http://www.hostsearch.co.th/web-hosting-search-cloud-hosting
cr
https://www.zoho.eu/workplace/pricing.html?src=zmail
https://aws.amazon.com/ses/pricing
google app / office 365 /mailchimp ถ้าใช้ไม่มาก
ZOHO ฟรี 5GB /User , 1 domain/25 user , แบบเสียเงิน 2.5/User/Month ไม่จำกัดโดเมน
https://www.zoho.com/mail/zohomail-pricing.html
https://www.pureapp.in.th/2015/03/zoho.html
ระบบเมล ที่บริษัทใช้กัน
1. webmail อาจจะไม่เหมาะ ถ้าเป็นธุรกิจที่ใช้เมลเยอะ
2. webmail บน vps server (เช่า hosting แบบ VPS)
ค่าบริการ host เช่น 8,000 – 60,000 บาท/ปี รองรับการใช้งานมากน้อยขึ้นอยู่กับ spec ต้องมีคนคอยจัดการ3. webmail แบบ hosting mail เช่า hosting ที่เป็น mail server โดยเฉพาะ
ตัวอย่าง https://www.webs.co.th/email-server/
– 20MB per Attach file
– POP/IMAP Email
– Web-based Email
– Mobile Suppor4,500 บาท /ปี 10GB Disk Space 20 Email Accounts
6,000 บาท /ปี 20GB Disk Space 30 Email Accounts
7,500 บาท /ปี 30GB Disk Space 100 Email Accounts
10,000 บาท /ปี 50GB Disk Space 300 Email Accounts4.วาง server เอง
ค่าวางต่อ 1U หรือ 1 server 30,000+ / เดือน
ยังไม่รวมการดูแล ค่าเครื่อง server ที่ดีๆหน่อย 50,000+ ถ้าทำ redundant วางวสัก 3 เครื่อง ประมาณแบบถูกๆ 100,0005.บริการแมล ของ ค่ายใหญ่ๆ เช่น google ,amazon, zoho
แนวทางตั้งserverเอง
ค่าใช้จ่ายลงทุนสูงอาจจะ100,000ทำredudant คือมีมากกว่า1serverและมีค่าวางเครื่องปีละอีก10,000และยังไม่รวมเจ้าหน้าที่ไอทีดูแลเงินเดือน อาจจะ ปีละ 200,000+ และ เสี่ยงกับลาออก ซึ่งอาจเหมาะกับบริษัทพนักงานหลักหลายร้อยหรือใช้เมลวันหนึ่ง200เมลขึ้น(ประมานให้เห็นตัวเลข) หรือ มีหน้าที่อย่างอื่นด้วย
จะใช้แบบไหน ดูที่ความต้องการ กับ สถานะ การใช้งาน
เช่น ..
30GB / 30 account / 5ปี
6GB / 30 account / 1ปี
6000Mb / 30 acc / 1 Y
200MB / 1 acc / 1Y
20MB / 1 acc / 1 Mเฉลี่ย ? mb/ เดือน/account / ? email
ตัวอย่าง
มี30account
20mail/วัน1.งบประมาณ
2.ความต้องการฟรี
ทำ forwarder mail จากในระบบจัดการของ Host ให้ผูกกับ gMail
สมมุติว่า web บริษัทคุณ คือ www.abcde.com
สมัคร gmail อาจเป็นชื่อ
– sale.abcde@gmail.com
– info.abcde@gmail.comทำ mail forwarder ใน Host ที่เปิดใช้บริการนั้น
sale@abcde.com ชี้ไปที่ – sale.abcde@gmail.com
info@abcde.com ชี้ไปที่ – info.abcde@gmail.com
manager@abcde.com ชี้ไปที่ – manager.abcde@gmail.comเข้าไปที่ gmail setting ของแต่ละคน ตั้งค่า 2 อย่าง
account > send mail as , reply mail as
(ขั้นตอนการทำ ครั้งแรก จะมีการส่ง mail ยืนยันว่า เป็นตัวจริง)อย่างไรก็ตาม
วิธีการทำงานในองค์กร รายละเอียดแบบแผน การจัดการสำคัญกว่าคำว่าฟรี
ที่สำคัญระบบให้ควมสำคัญกับคนๆเดียวจัดการความปลอดภัยข้อมูลต้องคำนึงถึงด้วย
amazon
Amazon เปิดตัวบริการใหม่ในตระกูล Amazon Web Services อีกแล้ว โดยรอบนี้เป็นบริการส่งเมลจำนวนมากๆ ในชื่อว่า Amazon Simple Email Service (SES)
ตัวบริการเองไม่ใช่ของใหม่เลย เพราะปัจจุบันมีบริการรับส่งเมลจำนวนมากๆ สำหรับนักการตลาดออนไลน์เยอะมาก แต่จุดที่ทำให้ SES น่าสนใจคือ “ราคา” ที่ถูกกว่าคู่แข่งมาก โดย Amazon คิดเพียง 0.10 ดอลลาร์ต่ออีเมล 1,000 ฉบับ ในขณะที่ราคาตลาดอยู่ประมาณ 0.2-1.5 ดอลลาร์
ตอนนี้บริการส่งอีเมลยี่ห้อเดียวที่มีราคาถูกเท่ากับ SES ก็คือ Google App Engine ซึ่งคาดว่า SES ตั้งราคาเพื่อมาชน App Engine ในประเด็นนี้โดยเฉพาะ
มันเหมาะต่อการส่ง spam เพราะบริการ Amazon SES รับประกันว่าอีเมล์จะถูกส่งถึงปลายทาง และไม่ได้โดนกัน spam/junk (ยกเว้นผู้ใช้จะตั้งค่าบล็อคด้วยตนเอง) อย่างไรก็ดี ผู้ให้บริการ cloud โดยส่วนใหญ่เขาจะมีข้อตกลงอะไรบางอย่างที่กันไม่ให้คนใช้บริการ cloud ในทางที่ผิดครับ Amazon ก็มีข้อตกลงเช่นนั้นเหมือนกัน อ่านได้ที่ AWS Customer Agreement หัวข้อ 4.2.2 ว่าด้วยเรื่องการใช้บริการ AWS ในการทำ spam
กลุ่มที่ต้องส่งหลักพันขึ้นไป ส่งเองก็เหนื่อย จะผ่าน Mail Server ก็ลุ้นอีก
ปัจจุบันจะส่งอีเมล์แจ้งกันแต่ละทีต้องไปค้นกล่อง Junk ก่อน เนื่องจากว่า Mail Server ใหญ่ๆ ต้องป้องกันเอาไว้
ทำให้การส่งอีเมล์จำนวนมากๆ ยุ่งยากซับซ้อนยิ่งขึ้น
ครั้นจะนั่งส่งด้วยมือผ่าน Gmail หรือ Hotmail ก็มีข้อจำกัดหลายๆ อย่าง เช่น Quota ในแต่ละวัน Mail Format ที่จำกัดจำเขี่ย
ซึ่งเมื่อ SES เข้ามาแก้ปัญหาตรงนี้ได้ก็หากินไปได้อีกนานทีเดียว
ตัว SES เองก็มี Spam Filter ของมันเองเช่นกัน ซึ่งถ้ามันสงสัยเมล์ไหนก็จะกันไม่ให้ส่งออกไปก่อน
อย่างน้อยก็ไม่ต้องลุ้นว่าลงกล่อง Junk อีกรึเปล่า
ลงทะเบียนเสร็จ ทำตามขั้นตอน
1.add mail ที่จะใช้ส่ง ต้องเป็น domain เดียวกับเว็บที่เราจะส่ง เช่น aaa.com email ก็ต้อง xxxx@aaa.com
2.verify website เอาโค้ดไปใส่ในเว็บ aaa.com เพื่อยืนยันตัวตนว่าเราเป็นเจ้าของเว็บ
3.หลังจากนั้นก็รอ approve จากทาง amazon (อาจจะผ่านหรือไม่ผ่าน ทาง amazon ไม่ได้ การันตี คงดูจากความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์เรา)
4.พอผ่านแล้วก็จะได้ smtp authen เอามาใส่ใน โปรแกรมส่เมล์ของเรา
ปล. เมล์ที่ส่งต้องมี unscription ตาม policy email marketing ไม่อย่านั้นจะถือว่าผิดกฏเป็นการ spam
ใช้บริการของ gmail
https://www.google.com/work/apps/business/pricing.html#choose-a-plan
ใช้บริการของ outlook/office365
http://products.office.com/th-TH/business/compare-office-365-for-business-plans
-http://www.hanthong.me/2015/04/09/email-hosting-review/
-https://www.thaidatahosting.com/services/cloud-email-hosting/
-https://www.thaidatahosting.com
-https://www.mailmaster.co.th/