1 ต.ค.61-ก่อนการโพสต์ครั้งล่าสุด ของ ศ. นพ. ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ออกมาโพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Thiravat Hemachudha กรณีสารพิษกำจัดศัตรูพืชที่ก่อนนี้กระทรวงสาธารณสุขว่าตกค้างในระดับที่ปลอดภัยถ้าล้างดีๆสามารถนำไปรับประทานได้ว่า มึงอยากใช้สารพิษที่มีในพืชผักผลไม้ อาหาร มึงก็เอาไปกินเองแล้วกัน
ศ.นพ.ธีระวัฒน์ ได้โพสต์ผ่านเพจ Thiravat Hemachudha ว่า” ต้องช่วยกันกระจายให้ทราบกันทั่วประเทศ ต้องลากให้อธิบาย และเปิดโปงให้หมด รู้เท่าทันสารพิษ รู้เท่าทันหน่วยงานรัฐสิ่งที่หน่วยงานของรัฐไม่ได้บอกประชาชนกรณีการสุ่มตรวจผักและผลไม้”1 ไม่บอกว่าสารที่ตกค้างส่วนใหญ่ ประมาณ 60% ล้างไม่ออก2 ไม่บอกว่า ห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์นั้น วิเคราะห์สารพิษกำจัดศัตรูพืชได้กี่ชนิด เพราะความครอบคลุมในการวิเคราะห์จะให้ผล % การตกค้างแตกต่างกันสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีการขึ้นทะเบียนในประเทศไทยมีประมาณ 280 ชนิดแต่ส่วนใหญ่การสุ่มตรวจที่ผ่านมาของหน่วยงานราชการตรวจได้เพียง 10% ของจำนวนสารที่มีการใช้ในประเทศเท่านั้นส่วนห้องปฏิบัติการที่ไทยแพนใช้ตรวจสอบสารได้มากกว่า 400 ชนิด (แต่ครอบคลุมชนิดสารที่ขึ้นทะเบียนประมาณ 45%)สิ่งที่หน่วยงานราชการแถลงต่อประชาชนเรื่องความปลอดภัยของผักและผลไม้จึงเต็มไปด้วยมายาคติหลายชั้นทั้งนี้ยังไม่รวมถึง3) การกำหนดค่า MRL ในประเทศไทย ซึ่งเป็นการร่วมกันกำหนดระหว่างหน่วยงานราชการ และ 2 สมาคมค้าสารพิษ และ4) การอ้างว่าแม้ตกค้างเกินมาตรฐาน แต่เมื่อประเมินความเสี่ยงแล้วพบว่า ปลอดภัย เป็นสิ่งที่รับไม่ได้เมื่อใดก็ตามที่มีสารพิษตกค้างเกินมาตรฐาน ผักผลไม้และอาหารนั้น ก็เป็นอาหารพิษต้องเรียกร้องให้หน่วยงานราชการแถลงข้อมูลทั้งหมดในข้อ 1 ถึงข้อ 4 ต่อประชาชนการแถลงร่วมอำมหิต อัปยศของกระทรวงเกษตรฯ กับกระทรวงสาธารณสุขครั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขถูกลากเข้าไปอยู่ในเกมของกระทรวงเกษตรฯ เพื่อโน้มน้าวให้เห็นว่าผักและผลไม้ ไม่มีการตกค้างมาก และปลอดภัยนี่คือเหตุผลที่มกอช.ต้องการดึงเรื่องการคุมอาหารปลอดภัยจากอ.ย.ไปอยู่ในมือกระทรวงเกษตรฯการล้างผักที่บอกกันก็ไม่ได้ใช้ความรู้ ดังที่เราทราบว่าสารพิษที่ตกค้างส่วนใหญ่เป็นสารดูดซึมและอีกอย่างคือวิธีการล้างผักแต่ละวิธีล้างออกได้ไม่เท่ากัน.
เวอไนน์ไอคอร์ส
ประหยัดเวลากว่า 100 เท่า!
เวอไนน์เว็บไซต์⚡️
สร้างเว็บไซต์ ดูแลเว็บไซต์
Categories
- ai (1)
- cat (1)
- computer internet (285)
- food (2)
- med (23)
- Music Movie (31)
- tool (43)
- ฮวงจุ้ย (9)
- Travel (69)
- Uncategorized (1,399)
- web (628)
- SEO 2025
- การทำอันดับเว็บไซต์
- KMS Activator windows
- หมอชี้เป็นมะเร็ง เพราะลืมล้างส่วนนี้ใน “หม้อหุงข้าว”
- picolaser
- ราคาค่ารักษาฝ้ากระด้วยเลเซอร์แต่ละรุ่น
- พิคโก้ second laser มีกี่ความยาวคลื่น?
- สายไฟ L และ N และการเสียบปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้า
- สาย l กับสาย N สลับกันแต่มีกราวด์และมีเบรกเกอร์ป้องกันไฟดูดปลอดภัยแล้วใช่หรือไม่
- การต่อสายกราวด์ไม่ได้ป้องกันความเสี่ยงต่อไฟรั่วทั้งหมด
- การต่อสาย L กับสาย N สลับกันมีผลเสียอย่างไร
- ความสัมพันธ์ระหว่างสไปรท์โปรตีนกับ mrna วัคซีนโควิด
- The art of saying no
- How Will You Measure Your Life?
- ..🙄
- 30คิดมาก
- Marc Reklau เรื่อง “How to Become a People Magnet”
- 13 เครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟมากที่สุด
- หน้าร้อนทำไมเข้าไปแพง
- The millionaire mind